Français POUR LE GÉOTOURISME au Géoparc de Khorat



Khorat : monde de paléontologie / ville des fossiles
โคราช: มหานครแห่งบรรพชีวินหรือเมืองแห่งฟอสซิล

Le géoparc de Khorat est non seulement célèbre pour ses cuestas uniques, mais aussi pour ses genres distinctifs d'éléphants anciens et de fossiles de dinosaures. Les genres les plus divers de dinosaures Iguanodon de l'ASEAN se trouvent ici, ainsi que les fossiles d'éléphants anciens de 10 genres sur un total de 55 dans le monde. Autre fait intéressant, de nouveaux genres et espèces de singes, de mammifères et de fossiles de reptiles ont été trouvés dans cette région. Pour ces raisons, le géoparc de Khorat est nommé Khorat : monde de paléontologie / ville des fossiles.
           นอกจากเป็นดินแดนแห่งเขาเควสตา โคราชจีโอพาร์คยังประกอบไปด้วยซากดึกดำบรรพ์พืชสัตว์ที่มีหลากหลายที่สุดแห่งหนึ่งในโลก โดยมีการค้นพบฟอสซิลไดโนเสาร์อิกัวโนดอนต์หลากหลายสกุลที่สุดในอาเซียน เป็นแหล่งฟอสซิลช้างหลากหลายสกุลที่สุดในโลก มี 10 สกุลใน 55 สกุลของโลก รวมถึงมีการค้นพบฟอสซิลสัตว์ในพื้นที่แห่งนี้ซึ่งเป็นพันธุ์ใหม่ของโลก โดยพบฟอสซิลสัตว์เลื้อยคลานพันธุ์ใหม่ของโลกและฟอสซิลสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมพันธุ์ใหม่ของโลก จึงทำให้โคราชจีโอพาร์คได้ชื่อว่าเป็น “มหานครแห่งบรรพชีวินของโลก”

Genres d'éléphants anciens trouvés dans le géoparc de Khorat
   ช้างดึกดำบรรพ์ที่พบในพื้นที่โคราชจีโอพาร์ค

           Le géoparc de Khorat possède la plus grande diversité de genres d'éléphants anciens dans le monde. Les 10 genres d'éléphants anciens trouvés dans la zone du géoparc de Khorat sont les suivants : Gompotherium, Dinotherium, Tetralophodon, Zygolophodon, Protanancus, Stegodon, Elephas, Prodeinotherium, Sinomastodon et Stegolophodon. L’image 1.3 illustre les genres d'éléphants anciens.
           ช้างดึกดำบรรพ์ที่พบในพื้นที่โคราชจีโอพาร์คมีความหลากหลายสกุลสูงสุดจากสกุลช้างดึกดำบรรพ์ทั่วโลก สกุลที่พบในพื้นที่แห่งนี้คือช้างสี่งากอมโฟธีเรียม ช้างไซโกโลโฟดอน ช้างงาจอบเล็กโปรโดโนธีเรียม ช้างงาจอบใหญ่ไดโนธีเรียม ช้างงาเสียมโปรตานันดัส ช้างไซโนมาสโตดอน ช้างสี่งาเตตระโลโฟดอน ช้างสเตโกดอน ช้างเอลิฟาส และช้างสเตโกโลโฟดอน รูปที่ 1.3 แสดงสกุลช้างโบราณที่ค้นพบในเขตพื้นที่โคราชจีโอพาร์ค

#
Image 1.3 : Genres d'éléphants anciens dans la zone du géoparc de Khorat.
Source : Bureau du géoparc de Khorat, 2020a.

Nouveaux genres / espèces dans le géoparc de Khorat    ฟอสซิลสัตว์พันธุ์ใหม่ของโลกในพื้นที่โคราชจีโอพาร์ค

           De nouveaux genres et espèces de fossiles d'animaux ont été trouvés dans le géoparc de Khorat. Ces animaux étaient des dinosaures, des singes, des mammifères et des reptiles.
           ฟอสซิลสัตว์พันธุ์ใหม่ของโลกที่ค้นพบในพื้นที่โคราชจีโอพาร์คประกอบด้วย ไดโนเสาร์ ลิงไม่มีหาง สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมและสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ

Fossiles de dinosaures
   ฟอสซิลไดโนเสาร์

           Les fossiles de dinosaures récemment trouvés sont les suivants : Siamraptor suwati, Sirindhorna khoratensis, Ratchasimasaurus suranareae et Siamondon nimngami. L’image 1.4 illustre les fossiles de dinosaures récemment trouvés dans la zone du géoparc de Khorat (Bureau du géoparc de Khorat, 2020a).
           ฟอสซิลไดโนเสาร์พันธุ์ใหม่ของโลกที่ถูกค้นพบคือ พันธุ์สยามแรปเตอร์สุวัจน์ติ สิรินธรน่า โคราชเอนซิส ราชสีมาซอรัสสุรนารีเอ และสยามโมดอน นิ่มงามมิ รูปที่ 1.4 แสดงฟอสซิลไดโนเสาร์สายพันธุ์ใหม่ที่ค้นพบในเขตพื้นที่โคราชจีโอพาร์ค (สำนักงานอุทยานธรณีโคราช, 2563)

Picture 1.1
Image 1.4 : Genres de dinosaures et nouveaux genres / espèces trouvés dans la zone du géoparc de Khorat.
Source : Bureau du géoparc de Khorat, 2020a.

Bois pétrifié
   ไม้กลายเป็นหิน

           Le bois pétrifié est un type de fossile de bois conservé par le processus appelé « pétrification », qui signifie « se changer en pierre ». Toutes les matières organiques du bois ont été remplacées par des minéraux, le plus souvent un silicate tel que le quartz, tout en conservant les structures d'origine du bois. Généralement, les espèces de bois pétrifiés peuvent être identifiées en examinant une fine section du fossile au microscope et en les comparant à la structure cellulaire des espèces vivantes. Le bois pétrifié est la clé du passé. L'étude des bois fossilisés peut nous donner une idée de ce qu'était la forêt ancienne. Le bois pétrifié joue un rôle important dans cette découverte.

Les différentes caractéristiques de bois pétrifiés de Nakhon Ratchasima :
           Bois pétrifié de pierres précieuses :
           Le bois pétrifié trouvé à Nakhon Ratchasima a la qualité de pierres précieuses telles que l'opale, la cornaline, l'agate et le jaspe. La plus grande bûche de bois pétrifié d'opale de Thaïlande a été trouvée dans le sous-district de Suranaree, là où se trouve le musée.
           Palmier pétrifié :
           Il a une structure en forme de tige proéminente dans le grain régulier du bois pétrifié. Cette structure bien définie en forme de tige apparaît sous forme de taches, de tiges effilées ou de lignes continues, ce qui en fait le favori des collectionneurs de roches. Les palmiers pétrifiés sont localement riches à Nakhon Ratchasima, en particulier dans le sous-district de Suranaree, mais très rares ailleurs.
           Bois pétrifiés avec divers âges :
           Des bois pétrifiés de plantes angiospermes ont été trouvés à Nakhon Ratchasima. Leur âge varie du début du Pléistocène (800 000 ans) et du début du Crétacé (120 à 140 millions d'années). Le plus grand bois de conifère pétrifié du pays (1,75 m de diamètre) datant du Jurassique tardif (il y a environ 150 millions d'années) a été trouvé dans le district de Pak Chong. (Musée du bois pétrifié. En ligne, 2020).

           ไม้กลายเป็นหินเป็นซากดึกดำบรรพ์ที่เก็บรักษาโดยกระบวนการที่เรียกว่า "การทำให้เป็นหิน" ซึ่งแปลว่า "เปลี่ยนเป็นหิน" วัสดุอินทรีย์ทั้งหมดของไม้ถูกแทนที่ด้วยแร่ธาตุ ส่วนใหญ่มักจะเป็นซิลิเกต เช่น ควอตซ์ ในขณะที่ยังคงโครงสร้างเดิมของไม้ โดยทั่วไปแล้วชนิดของไม้กลายเป็นหินสามารถตรวจสอบได้โดยการตรวจสอบฟอสซิลบางส่วนภายใต้กล้องจุลทรรศน์และเปรียบเทียบกับโครงสร้างเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ไม้กลายเป็นหินเป็นกุญแจไขไปสู่อดีต การศึกษาป่าดึกดำบรรพ์ทำให้เข้าใจว่าป่าโบราณเป็นอย่างไร ซึ่งไม้กลายเป็นหินมีบทบาทสำคัญในการค้นพบนี้
           ลักษณะเด่นของไม้กลายเป็นหินที่ค้นพบในจังหวัดนครราชสีมามีดังต่อไปนี้
           ไม้กลายเป็นหินอัญมณี
           ไม้กลายเป็นหินที่พบในจังหวัดนครราชสีมาเป็นไม้กลายเป็นหินอัญมณี เช่น โอปอล คาร์เนเลียน อาเกต และแจสเปอร์ ไม้กลายเป็นหินโอปอลที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยถูกค้นพบในตำบลสุรนารี ซึ่งเป็นที่ตั้งของพิพิธภัณฑ์ไม้กลายเป็นหิน

           ไม้กลายเป็นหินวงศ์ปาล์ม
           ไม้กลายเป็นหินวงศ์ปาล์มมีโครงสร้างท่อลำเลียงน้ำที่โดดเด่น ลักษณะภายในของไม้กลายเป็นหินมีโครงสร้างเป็นจุดในด้านหน้าตัดหรือเส้นต่อเนื่องในด้านแนวนอนทำให้เป็นที่ชื่นชอบในหมู่นักสะสมหิน ไม้กลายเป็นหินวงศ์ปาล์มพบมากในจังหวัดนครราชสีมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในตำบลสุรนารี แต่หายากมากในที่อื่น

           ไม้กลายเป็นหินหลากอายุ
           ป่าไม้กลายเป็นหินของพืชดอกแองจีโอสเปิร์มพบได้ในจังหวัดนครราชสีมา มีอายุแตกต่างกัน จากสมัยไพลโตซีนตอนต้น (800,000 ก่อน) และยุคครีเทเชียสตอนต้น (140-120 ล้านปีก่อน) ไม้สนต้นสนที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ (เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.75 ม.) อายุยุคจูแรสซิกตอนปลาย (ประมาณ 150 ล้านปีก่อน) พบในอำเภอปากช่อง

#
ไม้กลายเป็นหิน
สถาบันไม้กลายเป็นหินฯ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา